กัญชาเป็นสารเสพติดประเภทใด องค์ความรู้ของกัญชา

กัญชาเป็นสารเสพติดประเภทใด

          กัญชาเป็นสารเสพติดประเภทใด คงเป็นคำถามที่เพื่อนๆเกิดความสงสัยกันเป็นจำนวนมาก เนื่องจากผลมาจากประกาศกระทรวงสาธารณสุข ในวันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2565 ในเรื่อง ระบุชื่อยาเสพติดให้โทษในประเภทที่ 5 พุทธศักราช 2565 ซึ่ง ตามหลักข้อกฎหมายประกาศว่า “ทุกส่วนของกัญชา” ยังไม่จัดว่าเป็นยาเสพติด และในกรณีที่สารสกัดกัญชาที่มีสาร Tetrahydrocannabinol (THC) และ Cannabidiol (CBD) ไม่เกิน 0.2% ยังไม่ถือเป็นยาเสพติด

รู้หรือไม่กัญชาเป็นสารเสพติดประเภทใด

                  เราจะพาเพื่อนๆมาไขข้อสงสัยกันว่ากัญชาเป็นสารเสพติดประเภทใด แล้วทำไมกัญชาในทางการแพทย์ จึงได้ถูกให้เป็นทางเลือกสำหรับช่วยผ่อนคลาย สืบเนื่องมากจากประกาศกระทรวงสาธารณสุข และผลจากร่างพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายยาเสพติด พ.ศ. 2564 ตามระมวลกฎหมายยาเสพติด พ.ศ. 2564 ได้ประกาศให้”เสรีทางกัญชา” อย่างไม่มีข้อจำกัด

กัญชาเป็นสารเสพติดประเภทใด 1

กัญชาเป็นสารเสพติดประเภทใดแล้วทำไมจึงใช้ในทางการแพทย์

              กัญชาในทางการแพทย์มีสารสำคัญที่ทำให้กัญชามีสรรพคุณกลายเป็นคุณประโยชน์ โดยเฉพาะ Metformin : เมทฟอร์มิน เป็นยาที่ใช้ในการรักษาระดับน้ำตาลในเลือด ในผู้ป่วยเบาหวานให้มีระดับน้ำตาลมีปริมาณที่คงที่ และยังมีสาร Morphine : มอร์ฟีน ยาบรรเทาอาการแก้ปวด รักษาอาการแก้ไอ นอกจากนี้ยัมีชาวบ้านอีกจำนวนไม่น้อยที่นำกัญชามาใช้เป็นยารักษาโรค ช่วยบรรเทาอาการเจ็บป่วยบางอย่างด้วยจากภูมิปัญญาท้องถิ่นของชาวบ้านอีกด้วย

กัญชาเป็นสารเสพติดประเภทใด 2

มาสร้างองค์ความรู้จากสารสกัดในกัญชาเป็นสารเสพติดประเภทใด

                  แม้ว่าการปลดล๊อคบางส่วนของกัญชาจากสารสกัดจากกัญชาที่มีค่า THC หรือ เตตร้าไฮโดรแคนนาบินอลและ CBD หรือ  แคนนาบินอยด์ มีปริมาณที่ไม่เกินกว่า 0.2% จะยังไม่ถือว่ากัญชา หรืออาหารแปรรูปดังกล่าวจากกัญชานั้นเป็นยาเสพติดให้โทษอีกต่อไป

                 ซึ่งจากข้อมูลทางงานวิจัยพบว่า การกระจายตัวของสาร THC จากการสูดดมควัน พบว่าจะถูกดูดซึมเข้าสู่ร่างกายมากถึง 10 – 40% 

                 ส่วนการเสพโดยการกลืนลงในระบบทางเดินอาหารที่มีปริมาณค่า THC มากกว่า 0.2% (มากกว่าตามที่กฎหมายกำหนด) พบว่าจะถูกดูดซึมถึง 6 – 20% และในขณะเดียวกันร่างกายอาจต้องใช้เวลามากถึง 59 ชั่วโมง เพื่อสำหรับกำจัดปริมาณของสาร THC ในกระแสเลือดได้เพียงแค่ 50% เท่านั่น แต่ในขณะที่การออกฤทธิ์ของกัญชา เมื่อได้เสพเข้าสู่ร่างกายจะสามารถแทรกซึมเข้าสู่กระเลือดได้อย่างรวดเร็วเพียงแค่ใช้เวลา  2-3 นาทีเท่านั้น

กัญชาเป็นสารเสพติดประเภทใด 3

กัญชาเป็นสารเสพติดประเภทใดการออกฤทธิ์หลังใช้ในปริมาณที่มาก

                ลักษณะของการออกฤทธิ์หลังใช้ในปริมาณที่มากๆ จะมีผลแบบฉับพลัน ให้ผลร้ายแรงโดยตรง ต่อระบบจิตประสาท ใช้ระยะเวลาแค่ภายในไม่เกิน 1 ชั่วโมง จะพบอาการที่แสดงโดยทั่วไปคือเซื่องซึม ความทรงจำเลอะเลือน หากใช้ติดต่อกันในปริมาณที่สูง จะทำให้กลายเป็นคนเสียสติ วิกลจริตได้ในที่สุด ดังนั้นจึงควรใช้ ในขนาดปริมาณที่มีความเหมาะสม

                นอกจากนี้กัญชายังมีฤทธิ์ที่คล้ายกับการกระตุ้นประสาท และกดประสาท หลอนประสาท หากได้รับในปริมาณที่สูงกว่า 50% ขึ้นไป สำหรับผู้ใช้กัญชาจะมีอาการจิตเคลิ้มจิต จิตใจรู้สึกตึงเครียด มีความกังวล มักจะแสดงออกมาในลักษณะที่มีปฏิกิริยาที่เปลี่ยนแปลงอย่างกะทันหันรวดเร็ว อาทิเช่น หัวเราะ ร้องไห้ สงบ ล่องลอย ปากสั่น ชีพจรเต้นแรง เกิดอาการเป็นตะคริว และสุขภาพร่างกายโดยรวมจะเสื่อมลงอย่างรวดเร็ว และอาจส่งผลร้ายแรงเป็นต้นเหตุของการเสียชีวิตได้ในที่สุด 

กัญชาเป็นสารเสพติดประเภทใด 4

สภาวะสมองติดยาส่งผลทำให้กัญชาเป็นสารเสพติดประเภทใด

             จริงอยู่ที่ว่าสาร THC ให้ผลการออกฤทธิ์เสพติดได้น้อยกว่านิโคติน แต่การใช้เพียงสัปดาห์ละครั้ง ในปริมาณที่สูง ส่งผลทำให้สามารถเสพติดได้ทันที เกิดเป็นสภาวะการเสพติดกัญชาโดยแบบที่ไม่รู้ตัว “สภาวะสมองติดยา” นั้นเอง

            โดย “สภาวะสมองติดยา”สมองจะไม่สามารถกลับมาทำหน้าที่อย่างเฉกเช่นเดิมได้อย่างปกติอีกต่อไป โดยผู้ใช้จะมีอาการอยากยา ถอนยาไม่ได้ แม้ว่าจะไม่ได้ออกฤทธิรุนแรงและรวดเร็วเท่ากับ ยาบ้า ยาไอซ์ ยาอี แต่อย่างไรแล้วผู้ใช้กัญชาต้องกลับใสใช้อีกอย่างแน่นอน

กัญชาเป็นสารเสพติดประเภทใด 5

รู้หรือไม่!!!การสูบกัญชาเป็นสารเสพติดประเภทใด 

                แม้ว่าการสูบบุหรี่ยัดไส้กัญชาแค่เพียง 4 มวนเท่านั้น จะเท่ากับการสูบบุหรี่ 1 ซอง หรือราวๆ 20 มวน ทำลายการทำงานของระบบทางเดินหายใจ เป็นบ่อเกิดความเสี่ยงต่ของโรคมะเร็งได้ถึง 5 เท่า ! เลยทีเดียว

กัญชาเป็นสารเสพติดประเภทใด 6

                 กัญชาเป็นสารเสพติดประเภทใด จากคำถามนี้หลังจากที่เพื่อนๆได้ลองอ่านองค์ความรู้ของกัญชากันไปแล้ว คงคลายความสงสัยกันไปได้ไหมบ้าง อย่างไรแล้ว ถึงแม้ว่ากัญชาจะถูกปลดล็อคจากการเป็นสารเสพติดแล้ว แต่เพื่อนๆควรบริโภคหรือใช้ภายใต้กฎหมายที่ควบคุม และไม่ควรบริโภคในขณะขับขี่บนท้องถนน เพราะจะทำให้เป็นอันตรายต่อชีวิตตนเอง และผู้อื่นนั้นเอง

ขอบคุณเครดิตรูปภาพอ้างอิง

  1. https://www.chiangmainews.co.th/knowledge/2755739/
  2. https://pixabay.com/th/photos/%e0%b8%81%e0%b8%b1%e0%b8%8d%e0%b8%8a%e0%b8%b2-%e0%b8%97%e0%b8%b2%e0%b8%87%e0%b8%81%e0%b8%b2%e0%b8%a3%e0%b9%81%e0%b8%9e%e0%b8%97%e0%b8%a2%e0%b9%8c-%e0%b8%a7%e0%b8%b1%e0%b8%8a%e0%b8%9e%e0%b8%b7%e0%b8%8a-%e0%b9%80%e0%b8%ad%e0%b9%87%e0%b8%a1%e0%b9%80%e0%b8%88-%e0%b8%a2%e0%b8%b2-2248066/

สล็อตแตกง่าย

ufabet เว็บหลัก

โพสสายเขียวที่คุณอาจสนใจ

Newest Post!

เว็บไซต์น่าสนใจ

ร้านอาหารอร่อย
kinkubsher

แฟชั่นผู้ชาย
maleextratoday

แบบบ้าน
baan-design

แต่งงาน
weddingdistrictfrance

เครื่องดื่มแอลกอฮอล์
liqinfo