กัญชา เป็นสารเสพติดประเภทใด เรื่องกัญชาน่ารู้

กัญชา เป็นสารเสพติดประเภทใด

 กัญชา เป็นสารเสพติดประเภทใด นี่คงเป็นคำถามที่หลายๆคนต่างพากันสงสัย เนื่องจากประเทศไทยมีการนำกัญชามาใช้ในสรรพคุณตำรับยารักษาอาการเจ็บป่วยด้วยโรคต่างๆ ซึ่งจากประวัติความเป็นมาที่จารึกเอาไว้ในประวัติศาสตร์ แม้จะไม่ได้ระบุไว้อย่างชัดเจนว่ากัญชา เป็นสารเสพติดประเภทใด แต่ก็มีการนำกัญชามาใช้กันจนมากมาย นอกจากนี้ยังพบว่าในสมัยของสมเด็จพระนารายณ์มหาราชแห่งกรุงศรีอยุธยา ประชาชนและผู้ค้าขายก็มีการใช้กัญชาเช่นเดียวกัน เนื่องจากนิยมใช้กัญชาเป็นสมุนไพรสำหรับการรักษา มีฤทธิ์ในทางยาด้วยนั้นเอง

กัญชา เป็นสารเสพติดประเภทใด 1

มาทำความรู้จักกัญชา เป็นสารเสพติดประเภทใด

จากอนุสัญญาเดี่ยวว่าด้วยการควบคุมยาเสพติดให้โทษ (Single Convention on Narcotic Drugs) ในปีคริสต์ศักราช1961 ได้กำหนดให้กัญชาเป็นสิ่งเสพติด ที่ให้โทษในประเภท 1  และยังให้โทษในประเภท 4 นั้นเป็นเพราะว่ากัญชาเป็นพืชที่มีโอกาสสูงมากที่จะก่อให้เกิดการเสพและใช้ในปริมาณมากๆากๆ จะส่งผลทำให้ติดได้ และในขณะเดียวกันนั้นสาร Tetrahydrocannabinol (THC) ถูกจัดให้เป็นวัตถุที่สามารถออกฤทธิ์ให้โทษต่อสุขภาพในประเภท 1 นอกจากนี้อนุสัญญาว่าด้วยวัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท ในปีคริสต์ศักราช 1971 ได้กำหนดเอาไว้อย่างชัดเจนห้ามไม่ให้มีการใช้ แต่ให้มีข้อยกเว้นเฉพาะเพื่อประโยชน์ในทางการแพทย์ การใช้เป็นยาสำหรับการรักษาผู้ป่วย และการศึกษาวิจัยในทางวิทยาศาสตร์ ทั้งหมดนี้ต้องอยู่ภายใต้การควบคุมของรัฐบาลเท่านั่น และสำหรับสาร Cannabidiol (CBD) ไม่ได้ถูกกำหนดให้ควบคุมภายใต้อนุสัญญาดังกล่าวแต่อย่างใด

กัญชา เป็นสารเสพติดประเภทใด 2

ประเทศไทยจัดให้กัญชา เป็นสารเสพติดประเภทใด

        สำหรับในประเทศไทยแล้ว กัญชาจัดเป็นพืชที่มีการใช้อย่างแพร่หลาย แต่ต่อมาในปีพ.ศ. 2477 โดยผู้นำรัฐบาลของประเทศไทยได้ดำเนินการออกพระราชบัญญัติกัญชา ในปีพ.ศ. 2477 ซึ่งมีข้อความตอนหนึ่งว่า กัญชาห้ามผู้ใดปลูก นำเข้า ซื้อขาย หรือครอบครองกัญชาโดยเด็ดขาด ไม่เช่นนั้นจะได้รับโทษทั้งจำและปรับอย่างรุนแรง

        ซึ่งต่อมาในปี พ.ศ. 2522 ผู้บริหารทางรัฐบาลของไทยได้ดำเนินกาาออกพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 ตามข้อความในมาตรา 7 ในข้อที่ (5) ประเภท 5 ยาเสพติดให้โทษที่มิได้เข้าอยู่ในประเภท 1 ถึงประเภท 4 เช่น กัญชา พืชกระท่อม ทั้งงนี้ ตามที่รัฐมนตรีประกาศระบุชื่อยาเสพติดให้โทษตามมาตรา 8(1)  โดยกัญชาถูกจัดเป็นยาเสพติดให้โทษประเภทที่ 5 ตามในข้างต้น ซึ่งต้องมีโทษทางอาญากับผู้เสพและผู้ครอบครอง และไม่มีการอนุญาตให้นำมาใช้ในทางการแพทย์แต่อย่างใด

กัญชา เป็นสารเสพติดประเภทใด 3

รู้หรือไม่อดีตกัญชา เป็นสารเสพติดประเภทใด

            ในอดีตนั้นก่อนที่กัญชาจะถูกห้ามใช้ เป็นที่นิยมใข้กันมากในกลุ่มผู้ใช้แรงงานมักเลือกใช้กัญชาเป็นนยาคลายกล้ามเนื้อ และยังมีความเชื่อว่าสามารถใช้กัญชาเพื่อบรรเทอาการเจ็บครรภ์ของสตรีได้ และในสังคมท้องถิ่นชาวบ้านทั่วไปก็นิยมใช้กัญชาในการประกอบอาหาร และการสูบกัญชาเพื่อกิจกรรมสันทนาการ ทั้งหมดนี้เป็นสิ่งที่เป็นอดีตของกัญชาก่อนที่จะมีการออกกฎหมายพระราชบัญญัติกำหนดให้กัญชาเป็นพืชต้องห้าม และไม่ใช่สมุนไพรที่สามารถนำมาใช้สำหรับการรักษาโรค หรือใช้บรรเทาอาการเจ็บป่วยใด ๆ ทั้งสิ้น

กัญชา เป็นสารเสพติดประเภทใด 4

กัญชา เป็นสารเสพติดประเภทใด และมีอาการผิดปกติอย่างไร

            อาการของผู้ติดกัญชานั้น  ในข่วงระยะแรกๆของการติด การออกฤทธิ์ของกัญชาจะทำหน้าที่ไปกระตุ้นระบบการทำงานของประสาทส่งผลทำให้ผู้ใช้ออกอาการหัวเราะง่าย ช่างพูด ร่าเริง  หัวใจเต้นเร็ว ตื่นเต้นง่าย หลังจากนั้นต่อมาจะมีอาการคล้ายคนเมาเหล้า เนื่องจากการออกฤทธิ์จะไปทำหน้าที่กดประสาทส่งผลทำให้มีอาการซึม ง่วงหาวนอน การหายใจถี่ และส่งผลต่อการเห็นภาพลวงตา และมีฮาการภาพหลอนต่าง ๆ นอกจากนี้ในบางรายยังรู้สึก หวาดระแวง วิตกกังวล หูแว่ว ความจำเสื่อมความคิดสับสนเพ้อคลั่ง  ตกใจง่าย คลื่นไส้อาเจียน การควบคุมตนเองยาก และส่งผลต่อการมีอาการทางจิต สารพิษในกัญชาเป็นตัวทำละลายค่อระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย ทำให้มีอาการอ่อนแอ ภูมิคุ้มกันลดลงติดโรคอื่น ๆ ได้ง่าย อาทิเช่นโรคมะเร็ง โรคหลอดลมอักเสบเรื้อรัง สมรรถภาพทางเพศลดลงเกิดความผิดปกติของฮอร์โมนเพศและพันธุกรรม  

เพื่อนๆคงหมดความสงสัยกันแล้วว่ากัยคำถาม  กัญชา เป็นสารเสพติดประเภทใด  แม้ว่าในปัจจุบันกัญชา จะถูกปลดล็อคให้สามารถปลูกได้ และนำมาใช้ในการประกอบอาหาร ตลอดจนใช้เป็นยารักษาโรคบรรเทาอาการเจ็บป่วย ภายใต้กฎหมายที่กำหนด

อ่านบทความ มาทำความรู้จักกับประเภท บ้องกัญชาไม้ 

ทางเข้า PG Slot Auto มือถือ

โพสสายเขียวที่คุณอาจสนใจ

Newest Post!

เว็บไซต์น่าสนใจ

ร้านอาหารอร่อย
kinkubsher

แฟชั่นผู้ชาย
maleextratoday

แบบบ้าน
baan-design

แต่งงาน
weddingdistrictfrance

เครื่องดื่มแอลกอฮอล์
liqinfo